วันอังคารที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่15

Recent Posts

Science Experiences Management for Early Childhood

28 November 2014
Time 13:00 to 16:40 pm
 
วันนี้อาจารย์ให้ทำแผนพับเพื่อสานสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับโรงเรียน
 
 
 
อาจารย์สอนวิธีการใช้คำถามกับเด็ก
 
 คำถามให้สังเกต
1.ลักษณะของกบเป็นอย่างไร
2.ถ้าเราไม่รดน้ำดอกไม้ ดอกมะลิจะเป็นอย่างไร
 
คำถามทบทวนความจำ
 1.ไก่ที่เด็กรู้จักมีสีอะไรบ้าง
 2.กล้วยที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้าง
 
คำถามบอกความหมาย
1.บอกแนวคิด
2.บอกคำจำกัดความ
3.บอกนิยาม
 
คำถามเปรียบเทียบ
1.กบกับไก่ สัตว์ชนิดไหนใหญ่กว่ากัน
2.กะหล่ำปลีสีม่วง กับสีเขียว ชนิดไหนมีรสหวานที่สุด
 
การนำประยุกต์ใช้
 
เราสามารถนำคำถามที่เหมาะสม ไปใช้ถามกับเด็กได้เมื่อเราไปสอน เพื่อที่เด็กจะได้เข้าใจและสามารถตอบคำถามได้ตามความรู้สึก ตามความคิด
 
ประเมินผล
 
ตนเอง : ตั้งใจทำกิจกรรม มีส่วนร่วมในการวางแผนงานกับเพื่อน
เพื่อน : แบ่งหน้าที่การทำงานอย่างเป็นระบบ มีการสอบถามความถูกต้องจากอาจารย์
อาจารย์ : ให้คำแนะนำเป็นขั้นตอน เรียงลำดับคำพูดให้นักศึกษาได้ใส่ลงในแผนพับที่ได้ทำ

บันทึกอนุทินครั้งที่14


RECENT POSTS

Science Experiences Manangement for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran

Friday,November 21 ,2014.
Thime 13.00 to 16.40 pm.
วันนี้อาจารย์ให้นำสื่อการสอนมาส่ง

สื่อประเภทสอนเรื่อง แรงดันของน้ำ

สื่อประเภทสอนเรื่อง เสียง

 สื่อประเภทสอนเรื่อง แรงโน้มถ่วง

 สื่อประเภทสอนเรื่อง แรงลม


กิจกรรมที่ 2 ทำวาฟเฟิล 


อุปกรณ์


ขั้นตอนการทำ


ทำการอบขนมวาฟเฟิล

เสร็จแล้วค่ะขนมวาฟเฟิล


กิจกรรมที่ 3 เพื่อนออกมานำเสนองานวิจัย

- เรื่อง ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาล 2

ผู้วิจัย ศรีนอน ศรีอ่ำ

- เรื่อง การพัฒนาชุดการสอนหน่อยวิทยาศาสตร์น่ารู้ ชั้นอนุบาล 2

ผู้วิจัย สถิตย์  ศรีถาวร

- เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม กระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

- เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานในการจัดกิจกรรมทำน้ำสมุนไพร

โทรทัศน์

- เรื่อง กิจกรรมส่องนกนอกห้องเรียน

- เรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์

- เรื่อง จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย

การประยุกต์ใช้

ใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยผ่านสื่อ และวิธีการทำขนมวาฟเฟิลที่เด็ก ๆ มีส่วนร่วม

แบบประเมิน

ตนเอง:มีความตั้งใจที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียน เข้าเรียนตรงเวลา และมีความรับผิดชอบ

เพื่อน:เพื่อนๆ ให้ความร่วมมือดี

อาจารย์:อาจารย์มีกิจกรรมให้นักศึกษาฝึกทำมากมาย อาจารย์มีเทคนิคหลากหลายในการสอนเด็กทำ


สิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์
  
    รถของเล่นจากกระป๋อง
 
อุปกรณ์

1.กระป๋องโค้ก
2.ลวดไม้แขวนเสื้อ
3.ฝาโค้ก
4.หนังยาง

ขั้นตอนการทำ

1.นำกระป๋องโค้กไปล้างให้สะอาด และวนำมาตัดตรงกลาง หรือทำเป็นท้องรถ
2.เจาะรู 2ข้าง ทั้งด้านล่าง และด้านบน
3.นำฝาของโค้ก เพื่อมาทำเป็นล้อมาประกบกัน โดยที่ด้านในใส่หินไว้เพื่อถ่วงให้ล้อหนัก
4.ทำแบบนี้ทั้ง4ล้อ
5.นำลวดไม้แขวนเสื้อที่ไม่ใช้แล้วมาตัดเป็นแกนใส่ล้อ 2 อัน
6.เจาะเข้ากับล้อหนึ่งข้างแล้วสอดกับรูที่เจาะไว้กับตัวกระป๋องทำทั้ง2ข้าง
7.นำหนังยางมาผูกเกี่ยวโยงแกนไม้แขวนเสื้อระหว่างล้อหน้ากับล้อหลังไว้
8.สามารถเล่นได้โดยการหมุนล้อเข้าหาตัวแล้ววางกับพื้น รถก็จะสามารถเคลื่อนที่ได้


บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

 

RECENT POSTS

Science Experiences Manangement for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran

Friday,November 14 ,2014.
Thime 13.00 to 16.40 pm.

 

 

กลุ่มที่1 ประเภทของแปรงสีฟัน

 


  ขั้นนำ   ครูพาเด็กร้องเพลงสวัสดี

เพลงสวัสดีเธอจ๋า

                                            สวัสดีเธอจ๋าสวัสดี                 ชื่นชีวียิ้มแย้มแจ่มใส
                                       มาพบกับวันนีแสนดีใจ                รื่นเริงไปร้องรำให้สำราญ
                                      ลั่น ลัล ลา ลั่น ลา ลัล ลา  (ซำ้)


          ขั้นสอน  ครูพาเด็กท่องคำคล้องจองแปรงสีฟัน

คำคล้องจองแปรงสีฟัน

                                                                แปรงสีฟันมีหลายชนิด

                                                                 แต่ละชนิดมีดีต่างกัน

                                                                  แปรงสีฟันไฟฟ้านั้น

                                                               รวดเร็วพลันใช้ได้อย่างดี

                                                                 แปรงสีฟันผู้ใหญ่ก็มี

                                                              สะอาดดีเมื่อเราแปรงฟัน


          ขั้นสรุป  ครูและเด็กร่วมกันสรุปประเภทของแปรงสีฟัน

กลุ่มที่2 หน่วยผีเสื้อ (Butterfly unit)

เรื่อง  ลักษณะของผีเสื้อ
ขั้นนำ  ครูพาเด็กร้องเพลงสวัสดี

เพลงสวัสดี

สวัสดีแบบไทย ไทยแล้วก็ไปแบบสากล
สวัสดีทุกๆแบบสากลแล้วก็ไปแบบไทย

ขั้นสอน    ครูมีรูปภาพผีเสื้อแต่ละประเภทมาให้เด็กดู และพูดคุยกับเด็กเรื่องของลักษณะของผีเสื้อ พร้อมทั้งบันทึกลงในกราฟฟิค

ขั้นสรุป  ครูและเด็กร่วมกันอ่านลักษณะของผีเสื้อแต่ละชนิดร่วมกัน
 

กลุ่มที่ 3  หน่วยกล้วย (Bananas unit)

เรื่อง  ชนิดของกล้วย
 
  ขั้นนำ  ครูพาเด็กร้องเพลง

เพลงสวัสดีเธอจ๋า

                                            สวัสดีเธอจ๋าสวัสดี                 ชื่นชีวียิ้มแย้มแจ่มใส
                                       มาพบกับวันนีแสนดีใจ                รื่นเริงไปร้องรำให้สำราญ
                                      ลั่น ลัล ลา ลั่น ลา ลัล ลา  (ซำ้)


                               ขั้นสอน  ครูพาเด็กร้อง

เพลงกล้วย

กล้วย คือ ผลไม้ใคร ใครก็ชอบกินกล้วย

ค้างคาว ช้าง ลิง ฉันด้วย

กินกล้วยมีวิตตามิน

ลั่น ลัล ลา ลั่น ลา ลัล ลา  (ซำ้)

ขั้นสรุป  ครูและเด็กร่วมกันสรุปชนิดของกล้วย
 
หลังจากที่นำเสนอเสร็จเรียบร้อย อาจารย์สอนทำcooking
     โดยวันนี้เราจะมาทำ ทาโกยากิ อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ5 คน เพื่อที่จะทำหน้าที่เป็นลำดับขั้นตอน สลับกันกันไปมาจนครบ แล้วนำทาโกยากิ ใส่เครื่องไฟฟ้า
 


 
สรุป กิจกรรม
ทำให้รู้กระบวนการวิธีการสอนทำอาหาร มีขั้นตอนการทำอย่างไร
 
ประเมินผล
 
ตนเอง : สามารถทำทาโกยากิได้ด้วยตนเอง
เพื่อน : เพื่อนๆสนใจและสนุกสนานกับการทำ
อาจารย์ : สอนโดยการให้นักศึกษาได้ลงมือปฎิบัติด้วยตนเอง และปฎิบัติทุกคน
 

บันทึกอนุทินครั้งที่12

RECENT POSTS

Science Experiences Manangement for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran

Friday,November 7 ,2014.
Thime 13.00 to 16.40 pm.

วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอแผน
หน่วยกบ
  ส่วนประกอบของกบ

ขั้นนำ : บอกส่วนประกอบของกบ และความแตกต่างระหว่างกบนา กับ กบบลูฟร็อก

ขั้นสอน :  1.ร้องเพลงกบ 
                2.ครูมีรูปภาพกบนา กับ กบบลูฟร็อก มาให้เด็กดูและให้เด็กบอกระหว่างความแตกต่างของกบทั้ง
          2  ชนิด จากนั้นครูเขียนตามที่เด็กบอกลงในแผ่นชาร์ต

ขั้นสรุป : ครูและเด็กช่วยกันอ่านความแตกต่างของกบ 2 ชนิด ร่วมกัน

หน่วยกะหล่ำปลี

ประโยชน์ และ ข้อควรระวัง

ขั้นนำ : นำเข้าสู่บทเรียนโดยการปรบมือ เพื่อให้เด็กมีสมาธิและมีความพร้อมที่จะเรียนรู้

ขั้นสอน : ร้องเพลงกะหล่ำปลี และ เล่านิทานเรื่องคนสวนขายกะหล่ำปลี จากนั้นครูถามประโยชน์และข้อควรระวังจากกะหล่ำปลี จากเด็กๆ แต่ครูมีการพูดนำให้เด็กได้คิดก่อน

ขั้นสรุป : ครูและเด็กร่วมกันสรุปโทษของกะหล่ำปลี และเขียนลงในกระดาษหน้าชั้นเรียน พร้อมทั้งอ่านครูอ่านไปพร้อมๆกับเด็ก
 
หน่วยส้ม
 
 
 

ประโยชน์ของส้ม



 ขั้นนำ  :  ครูร้องพูดคำคล้องจอง เพื่อเก็บเด็ก
ขั้นสอน : ครูสอนการทำน้ำส้มคั่น โดยครูเริ่มจากแนะนำอุปกรณ์ให้เด็กรู้จักทีละอย่าง จากนั้นครูสอนวิธีการทำน้ำส้มคั่นทีละขั้นตอน 
ขั้นสรุป : ครูขออาสาสมัครเด็กที่อยากจะลองทำน้ำส้มคั่นออกมาทำหน้าห้องเรียน และให้แบ่งเพื่อนชิม
 
หน่วยดอกมะลิ
 
ขั้นนำ    : ครูพูดคำคล้องจองดอกมะลิ เพื่อเก็บเด็ก

ขั้นสอน : ครูบอกอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำ ดอกมะลิทอด และบอกวิธีการทอดดอกมะลิ
 
ขั้นสรุป : ครูขออาสาสมัครเด็ก ที่อยากลองทำดอกมะลิทอดออกมาทำหน้าชั้นเรียน และแบ่งเพื่อนๆในห้องชิม

หน่วยไก่

วิธีการเลี้ยงดูไก่



ขั้นนำ : ครูพูดคำคล้องจอง และให้เด็กท่องตาม

ขั้นสอน : ครูมีภาพไก่มาให้เด็กดู ให้เด็กได้ทำความรู้จัก และถามคำถามเรื่องไก่แก่เด็กว่าไก่ กินอะไรเป็นอาหาร ไก่อาศัยอยู่ที่ใด เพื่อเป็นการให้เด็กได้ใช้สมองในการคิด และยังทำให้เด็กกล้าแสดงออก

ขั้นสรุป : ครูบอกวิธีการดูแลเลี้ยงดูไก่แก่เด็ก และให้เด็กออกมาเต้นเพลงไก่เพื่อเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
 
หน่วยปลา

 ขั้นนำ : ครูใช้การปรบมือเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน

ขั้นสอน : ครูสอนเด็กทำ ปลาทูทอด โดยครูจะบอกอุปกรณ์ และวิธีการทำปลาทูทอดแก่เด็กๆ

ขั้นสรุป : ครูขออาสาสมัครเด็ก 1 คน เพื่อที่จะออกมาทำปลาทูทอดกับครู และนำไปแบ่งให้เพื่อนๆชิม

การนำไปใช้
     จากการนำเสนอกิจกรรมในวันนี้ มีข้อควรปรับปรุงแก้ไขมากพอสมควร  คำถามที่ต้องใช้กับเด็ก หรือกลวิธีการสอน อาจารย์ได้อธิบายให้รายละเอียดเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข
     เพราะเมื่อถึงเวลาที่ต้องฝึกสอน จะได้นำความรู้ ความเข้าใจตรงนี้ไปใช้ให้ถูกต้อง

ประเมินผล

  ตนเอง : ยังไม่มีพื้นฐานการสอนที่ดี ควรฝึกฝน แล้วออกมาสอนหน้าห้องบ่อยๆ
  เพื่อน : เพื่อนทุกคนตั้งใจนำเสนอ และทำกันอย่างเต็มที่
  อาจารย์ : อธิบายและคอยแนะนำข้อบกพร่องของการนำเสนอ



บันทึกอนุทินครั้งที่11

RECENT POSTS

Science Experiences Manangement for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran

Friday,October 24 ,2014.
Thime 13.00 to 16.40 pm.

วันนี้นำเสนอสื่อสิ่งพิมพ์วิทยาศาสตร์
     1.โยนไข่
     2.กระป๋องโยกเยก
     3.แก้วกระโดด
     4.นักดำน้ำ
     5.กบกระโดด
     6.บูมเมอแรง
     7.ปืนยิงลูกบอลจากลูกโป่ง
     8.ธนูไม้ไอติม
     9.กระป๋องผิวปาก
     10.ตุ๊กตาโยกเยก
     11.เรือโจรสลัดลุยน้ำ
     12.กังหันบิน
     13.ไก่กระต๊าก
     14.แท่นยิง
     15.เขาวงกต
     16.กงจักมหัศจรรย์
     17.หนูวิ่ง
     18.รถพลังงานลูกโปร่ง
     19.แผ่นซีดีหมุน
     20.รถของเล่นกระป๋องน้ำอัดลม
     21.ไหมพรหมเต้นระบำ
     22.ป๋องแป๋ง
     23.โมบายสายรุ้ง
     24.ฟองสบู่หรรษา
     25.ปืนยิงลูกบอลจากขวดน้ำ
     26.จรวดจากหลอดกาแฟ
     27.รถหลอดด้าย
     28.จั๊กจั่น
     29.กลองแขก
     30.ปะทัดกระดาษ (ปืนกระดาษ)
     31.รถล้อเดียว
     32.เป่ารถ
     33.เรือใบไม่ล่ม
     34.ทะเลในขวด 
     35.แก้วส่งเสียง

การนำไปประยุกต์ใช้

สอนเด็กประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์จากสิ่งของเหลือใช้ในหน่วยการเรียนรู้ได้ สื่อบางชนิดเด็กสามารถประดิษฐ์ได้

แบบประเมิน

ตนเอง:ตอนออกไปนำเสนอสิ่งประดิษฐ์คิดว่าเราทำได้ดีประมานหนึ่งสำหรับการพูด ถึงแม้จะตื่นเ้ต้นบ้าง

เพื่อน:สิ่งประดิษฐ์ที่เพื่อนนำมาเสนอมีความน่าสนใจ เพื่อนๆทุกคนให้ความร่วมมือดี

อาจารย์:อาจารย์ให้อธิบายเกี่ยวกับวิธีการทำ แล้วเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างไร




บันทึกอนุทินครั้งที่10

RECENT POSTS

Science Experiences Manangement for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran

Friday,October 18 ,2014.
Thime 13.00 to 16.40 pm.
 
 
 
 
ความรู้ที่ได้รับ

 
-ขั้นอนุรักษ์ คือ เด็กจะตอบในสิ่งที่ตาเห็น
-ขั้นใช้เหตุผล คือ เมื่อเด็กเห็นว่ามันเท่ากัน

กระบวนการ
1.ตั้งสมมติฐาน
2.ลงมือปฏิบัติ/รวบรวมข้อมูล
3.วิเคราะห์
4.สรุปผล

      หลังจากนั้นอาจารย์ให้ลองคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ประกอบหน่วยตัวเอง ให้เกี่ยวข้องกับวิทยาศสาตร์
 
นำไปประยุกต์ใช้ 
 
นำไปใช้ในการเลือกหน่วยให้เหมาะสมกับวัย ใช้ในการเขียนแผนให้ถูกต้องตามหลักการ
 
ประเมินผล
 
ตนเอง : ตั้งใจเรียน ไม่ค่อยเข้าใจเรื่องการเขียนแผนช่วงกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งนำมาสู่การปฎิบัติเท่าที่ควร
 
เพื่อน :ตั้งใจเรียนและทำการแก้ไขแผนที่ยังไม่ถูกต้อง
 
อาจารย์: อาจารย์คอยแนะนำในการเขียนแผนที่ต้องใส่ใจรายละเอียด การใช้คำถามกับเด็ก