RECENT POSTS
Science Experiences Manangement for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran
Friday,September 26 ,2014.
Thime 13.00 to 16.40 pm.
ในวันนี้อาจารย์มีกิจกรรมมาให้นักศึกษาทำคือ กิจกรรมกังหัน
อุปกรณ์
1.กระดาษ
2.คลิปหนีบกระดาษ
2.คลิปหนีบกระดาษ
วิธีทำ
อาจารย์ให้แถวที่1-2 พับกระดาษที่ตัดไว้ให้เข้ากับกึ่งกลางกลางพอดีและนำคลิปไปหนีบไว้
ส่วนแถวที่3-5 ให้พับจากบนลงมาข้างล่างแล้วนำคลิปมาหนีบไว้เช่นกัน
วิธีการเล่น
1. ให้แถวแรกลองโยนขึ้นเหนือศรีษะก่อนและสังเกตการร่วงหล่นลงมากับพื้น
2.ให้แถวที่2ลองโยนขึ้นเหนือศรีษะแล้วสังเกตการร่วงหล่นลงมา
เมื่อสังเกตดูแล้วทั้ง2วิธีนี้มีการร่วงหล่นลงมาที่ต่างกันเนื่องการพับกระดาษที่ต่างกัน
หลังจากนั้นอาจารย์ก็อธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่แต่ละกลุ่มได้รับมอบหมายให้ทำ
-หน่วยส้ม
-หน่วยกล้วย
-หน่วยกะหล่ำปี
-หน่วยดอกมะลิ
-หน่วยผีเสื้อ
-หน่วยไก่
-หน่วยกบ
-หน่วยปลา
-หน่วยแปรงสีฟัน
การประยุกต์ใช้
เมื่อเราเข้าใจการสร้างหน่วยการเรียนรู้แล้ว เราสามารถนำไปเลือกสอนหน่วยให้มีความเหมาะสมกับเด็ก ไม่ควรเลือกหน่วยที่กว้างเกินไปและไม่ควรเลือกหน่วยที่แคบจนเกินไป
แต่ละหน่วยการเรียนรู้ควรเปิดโอกาสให้เด็กได้คิด ลองศึกษาค้นคว้า กล้าที่จะตอบคำถามจากหน่วยที่เรียน
การประเมิน
ตนเอง : มีความเข้าใจในเรื่องหน่วยการเรียนรู้อยู่พอสมควร แต่ต้องไปศึกษาวิธีการสอนที่จะทำให้เด็กเข้าใจได้มากกว่านี้
เพื่อน : เพื่อนแต่ละคนช่วยกันตอบคำถาม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากอาจารย์ ตั้งใจเรียนกันดี
อาจารย์ : อาจารย์อธิบายหน่วยการเรียนรู้ได้ลงล฿กเพราะอาจารย์อยากให้เราเข้าใจสภาพความเป็นจริงเมื่อเราต้อไปสอนเด็ก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น